4. รวบรวมหลักฐาน
การทำให้ฝ่ายบุคคลหรือหัวหน้างานเชื่อว่าเพื่อนร่วมงานคนนั้น
มีนิสัยหรือพฤติกร รมแ ย่ ๆจนส่งผลกระทบต่อการทำงาน
และเพื่อนร่วมงานคนอื่น จำเป็นต้องมีหลักฐานต่าง ๆ ที่ชัดเจน
เพื่อยืนยันการกระทำเหล่านั้น เช่น คลิปเ สียงหรือภาพเหตุ การณ์
ที่เกิดขึ้น
3. ใช้อำนาจหน้าที่ที่มีอยู่
หากหน้าที่การงานที่เรารับผิดชอบอยู่เหนือเพื่อนร่วมงานที่มีพฤติกร รมแ ย่ ๆ
ก็ควรใช้อำนาจหน้าที่ที่มีอยู่นั้นทำให้พวกเขาได้รับรู้ว่า
หากยังประพฤติตัวแ ย่ ๆหรือไม่ใส่ใจงานของตัวเอง พวกเขามีสิทธิ์ต ก
ที่นั่งลำบากได้
6. ร่วมมือกับเพื่อนคนอื่น
ในกรณีที่หัวหน้างานรับรู้ปัญหาที่เกิดขึ้นของพนักงานที่มีนิสัยแ ย่ ๆ แล้ว
แต่ไม่ได้ใส่ใจและมองว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย
ก็อาจต้องหาแนวร่วมที่เป็นเพื่อนร่วมงานคนอื่นที่พบปัญหาเดียวกัน
เพื่อร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
5. พูดคุยแบบเปิด อก
หากพฤติกร รมของเพื่อนร่วมงานเป็นอุปสรรคในการทำงานหรือรบกวนการทำงาน
ของเราควรจะหาโอกาสพูดคุยอย่ างเปิด อก
เพื่อให้อีกฝ่ายได้รับทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งหากอีกฝ่ายรับฟังและยอมปรับปรุงแก้ไข
ก็จะส่งผลดีต่อทั้งสองฝ่าย
7. ปกป้องตัวเอง
หากต้องเป็นฝ่ายถูกกระทำจากเพื่อนร่วมงานที่นิสัยไม่ดี เช่น พูดจาดูถู ก
หรือพย าย ามล วนล ามสิ่งที่จำเป็นต้องทำคือการปกป้องตนเอง
อย่ ายอมต กเป็นเหยื่อหรือผู้ถูกกระทำเป็นอันข าดและควรปรึกษากับคนที่ไว้ใจได้
เพื่อช่วยกันหาทางออกในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
2. อยู่ห่างจากคนเหล่านี้
หากเป็นไปได้พย าย ามทำให้ตัวเองอยู่ห่างจากคนเหล่านี้ เช่น พย าย ามอย่ าไปนั่งใกล้ ๆ
หรือเผชิญหน้ากันเวลาต้องเข้าประชุมร่วมกัน หรือถ้าจะเดินเข้าไปชงกาแฟในห้องครัว
ก็พย าย ามเลี่ยงไม่อยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน
1. ปรับมุมมองให้เป็นบวก
ปรับมุมมองเ สียใหม่ให้เป็นด้านบวก เพื่อช่วยสร้างพลังในการทำงานให้กับตัวเอง เช่น
แทนที่จะคิดลาออกเพราะเบื่อเพื่อนนิสัยไม่ดี
อาจลองคิดกลับกันว่าถ้าออกจากงานไปแล้วจะหาเงิ นไปเรียนต่อหรือเลี้ยงครอบครัว
ได้จากที่ไหน เมื่อปรับความคิดหรือมุมมองได้แบบนี้ ก็จะทำให้มีกำลังใจในการทำงาน
มากขึ้น
ขอบคุณที่มา : forlifeth