1. ระบบเบรก
ให้เ ช็ คระบบเบรก โดยการขั บบนถนนโล่ง ๆ ด้วยความเร็ว 30 กิโลเมตร/ชั่ วโมง
แล้วให้ เ ห ยี บ บเบรกแบบเต็มแ ร ง หากรู้สึกว่ายังมีแ ร งสะท้าน
ที่เบรกแบบถี่ๆ แสดงว่ายังใช้งานได้ต ามปกติแต่ถ้าหากได้ยินเ สี ยงดังเอี๊ยด แปลว่า
ระบบกำลังมีปัญหา ให้รีบเข้าศูนย์เพื่อเ ช็ คให้ละเอียดโดยด่วน
โดยทั่วไปต้องเปลี่ยนทุ ก ๆ 25,000 – 50,000 กม. ต ามพฤติก ร ร มการใช้รถ
ความชื้นสูงส่งผลต่อคุณภ า พน้ำมันเบรค จึงควรตรวจน้ำมันเบรคหลังหมดฝน
2. ย างรถยนต์
อุ บั ติ เ ห ตุส่วนหนึ่งบนท้องถนน เกิดจากย างระเ บิดขณะขับขี่ ดังนั้นย างที่ดี
ต้องอยู่ในสภ า พที่พร้อมใช้งานไม่รั่ว ไม่ซึม ไม่แต กล า ยงา
มี ดอ กย างเพียงพอ เติมลมย างต ามที่คู่มือประจำรถกำหนดส่วนล้อก็ควรอยู่
ในสภ า พที่สมบูรณ์ ไม่คด ไม่เบี้ยว และที่สำคัญ อ ย่ าลืมเ ช็ คน็อตล้อด้วยนะคะ
ว่าขันแน่นหรือเปล่า
3. ระบบน้ำ
ระบบน้ำของรถก็ควรจะเ ช็ คให้เรียบร้อยด้วยเช่นกัน ว่ายังอยู่ในระดับที่กำหนดหรือไม่
รวมถึงในหม้อน้ำว่ามีเศษอะไรต กลงไปหรือเปล่า หากมีก็เอาออ กให้เรียบร้อย
4. ระบบปรับอากาศ
เครื่องปรับอากาศเป็นสิ่งที่ข า ดไม่ได้เลย โดยเฉพาะสภ า พอากาศร้อนๆแบบบ้านเรา
หากวันไหนขั บรถไปเกิดระบบปรับอากาศมีปัญหา
แอร์ไม่เย็น มีกลิ่นอับ คงนั่งรถไม่มีความสุขแน่ ๆและควรเปลี่ยนกรองแอร์ทุ ก ๆ
1 หมื่นกิโลเมตร เพื่อให้อากาศห า ยใจในรถเย็นสดชื่น
5. น้ำมันเครื่อง
ระดับน้ำมันเครื่องจะต้องอยู่ในระดับที่เหมาะสม ซึ่งเราสามารถตรวจเ ช็ คได้จาก
ก้านวัดน้ำมันเครื่องและขณะเดินทางควรมีน้ำมันเครื่องสำรอง
ติ ดรถไว้อ ย่ างน้อย 1 ลิตร เผื่อได้ใช้ในย ามฉุ กเฉินและควรเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง
ทุ ก ๆ 10,000 กิโล เพื่อให้เครื่องใช้งานได้ดีมีประสิทธิภ า พ ไหลลื่นปกติ ดี
6. สายเข็มขัดนิรภัย
เราควรเ ช็ คเข็มขัด นิ ร ภั ย ทุ กครั้งเสมอ ว่ายังแน่น ล็อ กได้ โดยการดึงเร็ว ๆ หลาย ๆ ครั้ง
และสามารถช่วยเซฟได้ดีอยู่ ในกรณีที่เกิดเหตุ ฉุ ก เ ฉิ น เพื่อความปลอ ดภั ยในการขั บขี่
7. ระบบไฟ
ควรจะเ ช็ คเสมอว่าไฟทุ กด วงยังใช้งานได้ต ามปกติ ทั้งกลางวันและกลางคืน
ทั้งไฟหน้า ไฟท้าย ไฟตัดหมอ ก ไฟเลี้ยว และไฟฉุกเฉิน
จะต้องใช้งานได้ครบทุ กจุดแสงสว่างจะต้องคมชัด ไม่มัว ยิ่งเดินทางในช่วงกลางคืน
ระบบไฟส่องสว่างถือว่าจำเป็น มากในการเดินทาง
8. ที่ปัดน้ำฝน
เช็คที่ปัดน้ำฝนด้วยการสัมผัส สังเกต ฟังเ สี ยง ดูระยะห่างของที่ปัดน้ำฝนและกระจก
โดยทั่วไปย างที่ปัดน้ำฝนใช้งานได้ 6-12 เดือน
9. แบตเตอรี่และระบบสายไฟในรถ
หัวใจหลักของการสต าร์ทเครื่องยนต์คือแบตเตอรี่ ตรวจดูสภ า พของแบตเตอรี่
ว่าอยู่ในสภ า พที่สมบูรณ์หรือไม่เพื่อความปลอ ดภั ยในการขั บขี่ และการ
เดินทางทุ กครั้ง
10. อะไหล่สำรอง
ชื่อก็บอ กอยู่ว่าเป็นอะไหล่สำรอง ก็ควรจะเตรียมความพร้อมไว้สม่ำเสมอ
เมื่อเกิดเหตุ ฉุ ก เ ฉินขึ้น มาจะได้ใช้การได้ทันที ไม่ว่าจะเป็นย างอะไหล่รถ
แม่แ ร ง และตัวขันต่าง ๆ มีเผื่อได้ใช้ ดีกว่าจะใช้แล้วไม่มีนะ
11. น้ำมันเบรก
เราควรตรวจเ ช็ คน้ำมันเบรกไม่ให้ต่ำกว่าที่กำหนด เพราะน้ำมันเบรกมีหน้าที่
ในการช่วยให้เบรกทำงานได้ดีมีความหล่อลื่นดี เมื่อเราใช้งานเบรกไปนาน ๆ
ทำให้น้ำมันเบรกไม่พอและเบรกจะสึกหรอได้หรืออาจถึงขั้น เ บ ร ก แ ต ก เลยล่ะ
ดังนั้นจึงไม่ควรละเลยการเ ช็ คน้ำมันเบรกกันนะ
12. แตรรถ
แตรรถที่หล า ยคนซื้ อรถมา อาจจะใช้แบบนับครั้งได้เลย และมักจะมองข้ามกัน
ไม่ค่อยเ ช็ คในส่วนนี้แต่หากถึงเวลาที่ต้องใช้จริงๆ
มันสำคัญมากนะในการขั บขี่เราควรจะเ ช็ คว่าแตรยังมีเ สี ยงดัง ใช้งานได้
ต ามปกติ ดีทุ กครั้งก่อนออ กเดินทาง
ขอบคุณที่มา : kiddeemak99