1. ไม่เคยจดเรื่อง “เ งิน” ของตัวเอง
เข้าห้องประชุมก็จด นายสั่งงานก็จด ไปฟังสัมนาก็จด จดทุ กเรื่องที่ทำเพื่อ
คนอื่นแต่หลายคนไม่เคยแม้แต่จะจดเรื่อง “เ งิน” ของตัวเองทั้งที่เป็นเรื่อง
ที่ดีกับตัวเองแท้ ๆ
เพียงเพราะคิดว่าเรารู้อยู่แล้วว่า รับ จ่าย ออม เท่าไหร่…จริงอยู่ที่เราอาจรู้
ความเคลื่อนไหวเ งินที่เข้า-ออกในกระเป๋า แต่นั่นอาจเป็นแค่ก้อนใหญ่ ๆ เท่านั้น
(เงิ นเดือน-ห นี้บั ต ร เ ค ร ดิ ต (รวม)-ห นี้บ้ านต่อเดือน ฯลฯ) แต่รายจ่ายจิปาถะ
กาแฟ ขนม เสื้อผ้า อุปกรณ์แก็ดเจ็ต
หรือแม้แต่ค่าใช้จ่ายปลีกย่อยก่อนจะรวมเป็นห นี้บั ต ร เ ค ร ดิ ต ก้อนใหญ่
หลายคนไม่เคยแม้แต่จะสนใจและนั่นก็เป็น “รูรั่ว” เล็ก ๆ แต่สร้างผลกระทบยิ่งใหญ่
ต่อสถานะการเงิ นโดยที่เราไม่รู้ตัว
เริ่มต้นง่าย ๆ แค่จดรายจ่าย “ทุ กวัน” ต่อเนื่องกันสัก 2-3 เดือน เราก็จะเห็นแล้วว่า
อะไรที่ “เกินจำเป็น” และ“เสี ยไปโดยใช่เหตุ” บ้ าง…จากนั้น
ปรับพฤติกร รมการใช้จ่ายและนำส่วนที่เหลือไปเก็บออมแค่นี้ก็เข้าจุดหมายที่เรียกว่า
“ความร วย” เข้าไปอีกก้าวแล้ว
2. คิดว่า “เร็วเกินไปที่จะออมเ งิน”
ในวันที่เรายังตื่นตาตื่นใจกับสิ่งรอบตัว อันนู้นก็ใช่ อันนี้ก็อย ากได้ อันนี้ก็กำลังมองหา
ภาพลวงของ “ความจำเป็น”ผุดขึ้นมาตรงหน้า และทำให้เราเสี ยทรัพย์อยู่เสมอ
ทั้งที่สิ่งเหล่านั้นอาจเป็นแค่
“ความต้องการ” มีก็ดี ไม่มีก็ได้…เลิกผัดวันประกันพรุ่ง และเริ่มออมเงิ นวันนี้
และเดี๋ยวนี้ จะ 10 100 1,000 10,000ก็ถือว่าเราได้เริ่มต้นแล้ว…หลังจากนั้นสร้างวินัย
ให้กับตนเองด้วยการออมต่อเนื่อง
สม่ำเสมอ แม้จะไม่อย ากออมก็ตามเพราะวินัย คือ การทำสิ่งที่ “ต้องทำ” แม้จะ
“ไม่อย ากทำ” ก็ตาม
3. ไม่เคยตั้ง “งบประมาณ” ในการใช้เ งิน
บริษัทก็ยังมีงบการเ งิน ทำโปรเจคยังต้องมีประมาณการณ์ค่าใช้จ่าย เรื่องการเงิ น
ส่วนบุคคลก็เช่นกัน…หลายคนไม่เคยตั้ง
“งบประมาณ” การใช้เงิ นเลย จะช้อปปิ้งปีใหม่ จะเที่ยว จะซื้ อเสื้อผ้า ก็จัดเต็ม
และสุดท้ายก็เกินความจำเป็น เกินกำลังทรัพย์ของตัวเอง
และกลายเป็น “ห นี้” ในท้ายที่สุดวิ ธีการที่ง่ายกว่าก็คือ “ตั้งงบประมาณ” การใช้เงิ น
ทุ กครั้ง เช่น จะซื้ อของวาเลนไทน์ให้คนรักไม่เกินกี่บาท,
จะไปเที่ยวทริปกลางปีงบประมาณรวมเท่าไหร่ หลังจากนั้น…ยึดมั่นกับสิ่งที่ตั้งไว้
ทำตามแผน ไม่ใช้เกินงบ รับรองว่าเราจะตัดสิ่งที่ไม่จำเป็นออกไปได้อย่ างง่ายได้
และสุดท้ายก็ไม่ต้องมีห นี้ติ ดสอยห้อยตามมา
4. สนใจแต่ “ปัจจุบัน” ไม่สนใจ “อนาคต”
เมื่อเจอกับปัญหา หลายคนเลือกที่จะเดินหนี หันหลังให้ หรือบ่ายเบี่ยงไปทำอย่ างอื่น
และปัญหาก็ยังคงกองอยู่ตรงหน้าเหมือนเดิม แถมอาจหนักขึ้นจนเข้าขั้นวิ ก ฤ ติ
ได้ในอนาคต
ในเรื่องของการเงิ นก็เช่นกัน หลายคนสนใจกับความสุขในวันนี้ กินอิ่ม ปาร์ตี้สนุก
เที่ยวถี่ ใช้ให้เต็มที่ทั้งที่รู้ว่ายังไม่มีเ งินเก็บสำหรับอนาคต ไม่มีเงิ นสดสำหรับ
ย ามฉุ ก เ ฉิ น
ไม่เคยวางแผนการเงิ น ไม่เคยแม้แต่จะลงมือทำ…และปัญหาก็ยังคงเป็นปัญหาเช่นเคย
คงดีกว่าไม่น้อยถ้าการตัดสินใจใช้เงิ นทุ กครั้ง เราได้ฉุกคิดถึง “อนาคต”
บ้ าง…บ้ านผ่ อ น หมดยัง
ห นี้บั ต ร เ ค ร ดิ ตจ่ายเต็มวงเงิ นแล้วใช่มั้ย? เงิ นก้อนที่ตั้งใจเก็บตอนนี้ได้เท่าไหร่
เกษียณที่ว่าต้องใช้เงิ นเยอะเรามีแค่ไหนแล้ว? หัดอดเปรี้ยวไว้กินหวานบ้ าง…
5. ใช้เงิ นเพิ่มขึ้น
ไม่ผิดหรอกถ้าคิดว่า “อย ากมีชีวิตที่ดีขึ้น” แต่อย่ าลืมว่าชีวิตที่ดีขึ้นไม่จำเป็นต้องมากับรายจ่าย
ที่มากขึ้นเพียงอย่ างเดียวลองใช้ชีวิตให้ง่ายขึ้น เลิกเป็นนักสะสม สนุกกับการ Mix & Match
แค่นี้ก็ทำให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้นได้
เพราะถ้าได้เงิ นเดือนเพิ่ม แล้วใช้จ่ายเพิ่ม (มากกว่าเงิ นเดือนที่เพิ่ม) สุดท้ายอาจได้แค่ “อย าก”
มีชีวิตที่ดีขึ้น เพราะพฤติกร รมมือเติบอาจก่อให้เกิดปัญหาตามมา โดยเฉพาะห นี้สินที่พอกพูน
โดยไม่ทันตั้งตัว
ขอบคุณที่มา : jingjai999