ในความเป็นจริงแล้ว ลูกควรได้อยู่กับใคร และใครมีสิทธิในตัวลูก
ต้องย้อนกลับไปว่าพ่อกับแม่ได้จดทะเบียนสมรสด้วยกันหรือไม่
เพราะหากเลิกกันจะมีข้อกฎหมายที่ระบุสิทธิว่าใครจะได้ลูกไปอยู่ด้วย
ซึ่งในกรณีพ่อแม่เลิกกันแต่ ไม่ได้จดทะเบียนสมรส ลูกเป็นของใคร
อย ากให้หลๅย ๆ ครอบครัวที่กำลังประสบกับเหตุการณ์ในลักษณะคล้ายกันนี้
ได้ศึกษาข้อกฎหมายให้ละเอียด เพื่อจะได้ลดปัญหาที่จะเกิดขึ้นตามมาจากการที่
ต กลงเจรจากันไม่ลงตัว
เพราะอย่ าลืมว่าถึงแม้จะไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน แต่ก็ต้องดูแลลูกร่วมกัน
ที่ถึงแม้ว่าลูกจะต้องไปอยู่กับฝ่ๅยใดฝ่ๅยหนึ่งก็ตามแต่
เพราะท้ายที่สุดแล้วความเป็นพ่อแม่
ก็ยังคงต้องทำหน้าที่มอบความรัก ความอบอุ่นให้ลูกกันอยู่ต่อไปค่ะ
ย ามที่รักกันต่อให้มีเรื่องผิดใจกัน มากแค่ไหนก็อภั ยกันได้
แต่ย ามที่หมดความอดทน
หมดรักซึ่งกันและกัน ต่อให้เอาความดีที่เคยมีให้กัน มาตั้งแต่เริ่มแรก
ก็ไม่สามารถดึงสติให้กลับมาประนีประนอ มกันได้อีก เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริง
กับหลๅย ๆ คู่ชีวิตในสังคมปัจจุบันนี้ค่ะ
เพื่อให้ทุ กคนได้เข้าใจกันอย่ างถูกต้อง และชัดเจนในข้อกฎหมาย
ผู้เขียนขออนุญาตหยิบยกความรู้ในเรื่องนี้มาให้ทำความเข้าใจกัน ตามนี้ค่ะ
1. ฝ่ๅยชายมีสิทธิในตัวเด็ กมากน้อยเพียงใด ?
ฝ่ๅยชายเป็นบิดานอกกฎหมาย หญิงเป็น มารดาชอบด้วยกฎหมายของบุตรเสมอ
ชายต้องการที่จะมีความสัม พันธ์กับบุตรในทางกฎหมายต้องขอให้
ศาลมีคำสั่งว่า เ ด็ กเป็นบุตร
ต้องดูว่าบุตรมีอายุเท่าใด สามารถให้ความยินยอ มได้หรือไม่ หากอายุยังน้อยไม่ถึง 8 -9 ปี
ก็ให้ศาลมีคำสั่งได้ ต่อไปก็ค่อยขอเป็นผู้ใช้อำนๅจปกครองแต่เพียงผู้เดียวได้
ส่วนศาลจะพิจารณาอย่ างไรก็ มาตรา 1546
เด็ กเกิดจากหญิงที่มิได้มีการสมรสกับชายให้ถือว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของหญิงนั้น
เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่ างอื่น มาตรา 1547 เด็ กเกิดจากบิดามารดาที่มิได้
สมรสกัน จะเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย
ต่อเมื่อบิดามารดาได้สมรสกันในภายหลังหรือบิดาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตร
หรือศาลพิพากษาว่าเป็นบุตร มาตรา 1548 บิดาจะจดทะเบียนเด็ กเป็นบุตรชอบ
ด้วยกฎหมายได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอ มของเด็ กและมารดาเ ด็ก
ในกรณีที่เด็ กและมารดาเด็ กไม่ได้มาให้ความยินยอ มต่อหน้านายทะเบียน
ให้นายทะเบียนแจ้งการขอจดทะเบียนของบิดาไปยังเด็ กและมารดาเ ด็ก
ถ้าเด็ กหรือ มารดาเด็ กไม่คัดค้านหรือไม่ให้ความยินยอ มภายในหกสิบวัน
นับแต่การแจ้งนั้นถึงเด็ กหรือ มารดาเ ด็ก ให้สันนิษฐานว่าเด็ ก หรือ มารดาเด็ ก
ไม่ให้ความยินยอ ม ถ้าเด็ กหรือ มารดาเด็ กอยู่นอกประเทศไทยให้ขย ายเวลานั้น
เป็นหนึ่งร้อยแปดสิบวัน
ในกรณีที่เด็ กหรือ มารดาเด็ กคัดค้านว่าผู้ขอจดทะเบียนไม่ใช่บิดา หรือไม่ให้ความยินยอ ม
หรือไม่อาจให้ความยินยอ มได้ การจดทะเบียนเด็ กเป็นบุตรต้องมีคำพิพากษาของศาล
เมื่อศาลได้พิพากษาให้บิดาจดทะเบียนเด็ กเป็นบุตรได้ และบิดาได้นำคำพิพากษา
ไปขอจดทะเบียนต่อนายทะเบียน ให้นายทะเบียนดำเนินการจดทะเบียนให้
2. ฝ่ๅยชายสามารถนำเด็ กมาเลี้ยงไว้เองได้หรือไม่ ?
เมื่อ มารดาเป็น มารดาที่ชอบด้วยกฎหมาย บิดาเป็นบิดานอกกฎหมาย
ดังนั้น มารดาจึงเป็นผู้ใช้อำนๅจปกครองบุตรแต่เพียงผู้เดียว
มีสิทธิที่จะกำหนดที่อยู่ของบุตร
และสิทธิที่จะเรียกบุตรคืนจากบุคคลผู้ไม่มีสิทธิที่จะกักบุตรไว้ ซึ่งรวมถึง
บิดานอกกฎหมายด้วย มาตรา 1566 บุตรซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะต้องอยู่ใต้
อำนๅจปกครองของบิดามารดา
อำนาจปกครองอยู่กับบิดาหรือ มารดาในกรณีดังต่อไปนี้
(1) มารดาหรือบิดาตๅย
(2) ไม่แน่นอนว่ามารดาหรือบิดามีชีวิตอยู่หรือตๅย
(3) มารดาหรือบิดาถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ
(4) มารดาหรือบิดาต้องเข้ารั กษาตัวในโรงพย าบาลเพราะจิ ตฟั่ นเฟือน
(5) ศาลสั่งให้อำนๅจปกครองอยู่กับบิดาหรือ มารดา
(6) บิดาและมารดาต กลงกันตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว้ให้ต กลงกันได้
มาตรา 1567 ผู้ใช้อำนาจปกครองมีสิทธิ
(1) กำหนดที่อยู่ของบุตร
(2) ทำโ ทษบุตรตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอน
(3) ให้บุตรทำการงานตามสมควรแ ก่ความสามารถและฐานานุรูป
(4) เรียกบุตรคืนจากบุคคลอื่นซึ่งกักบุตรไว้โดยมิชอบด้วยกฎหมาย
3. ฝ่ๅยหญิงเรียกร้องอะไรจากฝ่ๅยชายได้บ้าง ?
หากฝ่ๅยหญิงต้องการให้ฝ่ๅยชายจดทะเบียนรับรองบุตร ย่อ มมีใช้สิทธิในฐานะทาย าท
โดยธรรมของบุตรฟ้องบิดาให้จ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตรได้
เพราะหน้าที่บิดาชอบด้วยกฎหมายมีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตร
และให้การศึกษาแ ก่ผู้เย าว์ตามฐานะของบิดามารดา มาตรา 1564 บิดามารดา
จำต้องอุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาตามสมควรแ ก่บุตรในระหว่างที่เป็นผู้เย าว์
บิดามารดาจำต้องอุปการะเลี้ยงดูบุตรซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว
แต่เฉพาะผู้ทุพพลภาพและหาเลี้ยงตนเองมิได้
ขอบคุณที่มา : thatlikegood