1. อายุ 20 ปีขึ้นไป หรือวัยเริ่มทำงาน
เป็นช่วงวัยที่มีรายได้ที่เป็นเ งินเดือนอย่ างชัดเจน และมีเวลาเก็บเงิ น
ถ้าวางแผนออมเงิ นเร็ว ไม่ควรสร้างห นี้สินที่เกินกำลัง
บริหารรายรับรายจ่ายได้พอดี และตั้งเป้าการเก็บเงิ นเพื่ออนาคตสำรองไว้
เช่น ซื้อบ้าน ซื้อรถ*สูตรออมเงิ น = ออมเ งิน 10% – 20% ของรายได้*
2. อายุ 30 ปีขึ้นไป หรือวัยสร้างครอบครัว
วันที่มีความมั่นคงในหน้าที่การงาน แต่มีภาระค่าใช้จ่ายในการสร้างฐาน เช่น ผ่อนบ้าน
, ผ่อนรถ แม้รายได้จะเพิ่มขึ้น แต่รายจ่ายก็เพิ่งสูงเช่นกัน
ควรแบ่งเงิ นออมไว้สำหรับการลงทุนเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มรายได้ให้มั่นคง โดยลงทุนใน
สินทรัพย์ที่มีความเ สี่ยงน้อยถึงปานกลาง
เพื่อให้ได้เงิ นปันผลหรือด อกเบี้ยที่สูง เพื่อเพิ่มเ งินออมในอนาคต
*สูตรออมเงิ น = ออมเ งิน 20% – 30% ของรายได้*
3. อายุ 40 ปีขึ้นไป หรือวัยสร้างความมั่นคง
วัยที่มีรายได้เยอะและมั่นคง ภาระห นี้สินบางอย่ างหมดไป เช่น บ้านหรือรถ
แต่ภาระเรื่องการศึกษาลูกยังคงมีอยู่ การออมเงิ นในวัยนี้
อาจเพิ่มมากขึ้น จากเงิ นส่วนที่ต้องผ่อนสินทรัพย์ต่าง ๆ หมดไป
โดยออมเพิ่มมากขึ้นในสินทรัพย์ที่มีความเสี่ ยงต่ำ
เพื่อวางแผนเกษียณงาน
*สูตรออมเ งิน = ออมเ งิน 30% – 40% ของรายได้*
4. อายุ 50 ปีขึ้นไป เข้าสู่วัยเกษียณ
เข้าสู่วัยเกษียณ ภาระห นี้สินไม่มีทั้งบ้าน, รถ, การศึกษาลูก จึงมีเ งิน
เหลือออมเพิ่มมากขึ้น
เพร าะเงิ นจากการลงทุนในช่วงวัยที่ผ่ านมา จะเพิ่มพูนมากขึ้น หากคนไหน
มีแพลนจะทำอะไรแล้วใช้เ งินก็มีเงิ นจากตรงนี้เอามาใช้ได้เลย
ส่วนแผนการออมเงิ นควรออมเพิ่มมากขึ้นระยะย าว
*สูตรออมเ งิน = ออมเ งิน 40% – 50% ของรายได้*
5. อายุ 60 ปีขึ้นไป หรือวัยหลังเกษียณ
วัยแห่งการพักผ่อน ไม่มีภาระด้านใด ๆ ใช้ชีวิตในบั้นปลายจากเงิ นเก็บ
สามารถเก็บเ งินต่อไปได้เรื่อย ๆ แต่ลดจำนวนเงิ นออมลง
เพื่อใช้จ่ายตามที่ต้องการในช่วงบั้นปลาย
*สูตรออมเ งิน = ออมเ งิน 20% – 30% ของรายได้*
ขอบคุณที่มา : create-readingth