1. รู้เวลาพัก
เพราะการทำงานที่ บ้ า น ไม่มีเพื่อนชวนกินข้าวย ามพักกลางวัน หรือชวน
พักเบรกจากความเหนื่อยล้าระหว่างวัน ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของตัวเราเอง
ที่ต้องรู้นโยบายของบริษัทว่าให้พักได้
ในเวลาไหนมีพักเบรกย่อย บ้ า ง หรือเปล่า จากนั้นก็นำมาปฏิบัติตามในช่วงที่
ทำงานที่ บ้ า น อย่ างเหมาะสม ซึ่งส่วนใหญ่แล้วหลายบริษัทมักจะให้พักกลางวัน
ในช่วงเที่ยง และมีพักเบรกย่อยในช่วงบ่าย
อ้อ แล้วในขณะพักก็พย าย ามใช้เวลาให้คุ้มค่า ไม่จำเป็นต้องกลับมาทำงาน
เร็วกว่ากำหนด ถ้าเพื่อความสะดวกสบายและแบ่งเวลาได้อย่ างเหมาะสม
จะตั้งเวลาหรือนาฬิกาไว้เลยก็ได้
2. สร้างกิจวัตรในตอนเช้า
การเริ่มต้นทำอะไรสักอย่ างเป็นเรื่องย ากเสมอ ในแง่ของการทำงานที่ บ้ า น ก็เช่นเดียวกัน
เพราะบางครั้งกว่าจะตัดสินใจนั่งประจำที่และทำงานได้ ต้องใช้เวลามากกว่าที่ออฟฟิศ
ดังนั้นผู้เชี่ยวชาญจึงแนะนำว่า
ให้สร้างกิจวัตรในตอนเช้าที่จะทำให้ ร่ า ง ก า ย คุ้นเคยว่าถึงเวลาเริ่มงานแล้ว เช่น การดื่มกาแฟ ก
ารออกกำลังกาย หรือแม้กระทั่งการเปลี่ยนเสื้อผ้า เพราะตามหลัก จิ ต วิ ท ย า แล้ว
การใส่ชุดนอนทำงานเป็นกลยุทธ์ที่ไม่ค่อยเวิร์กเท่าไร
เนื่องจากทำให้รู้สึกสบายและผ่อนคลายมากเกินไป โดยทางที่ดีให้เปลี่ยนมาเป็นชุดลำลอง
หรือชุดทำงานที่ไม่ค่อยเนี้ยบ เพื่อช่วยให้ความรู้สึกแบบอื่นที่ไม่ใช่การพักผ่อนแทน
3. จัดพื้นที่ทำงานให้น่านั่ง
เมื่อเลือกพื้นที่ที่เหมาะกับการนั่งทำงานได้แล้ว ต่อไปก็ต้องเคลียร์ข้าวของ ทำความสะอาด
และจัดระเบียบให้เรียบร้อย เนื่องจากการนั่งทำงานในบริเวณที่รกและสกปรก
สามารถทำให้ความคิดยุ่งเหยิงและเสี ยสมาธิได้ อย่ างไรก็ตาม ไม่ได้หมายความว่า
ต้องจัดเตรียมพื้นที่ให้เป๊ะทุ กองศา เพราะความจริงแล้วแค่เก็บเอก ส า ร ไว้ในกล่อง
เก็บข้าวของให้เข้าที่เข้าทาง เลือกสิ่งของที่วางบนโต๊ะอย่ างเหมาะสม แยกข้าวของที่
ไม่เกี่ยวข้องออกไปพร้อมทั้งหาอะไรที่ทำให้เกิดแรงบันดาลใจ
เช่น ผลงานศิลปะหรือต้นไม้ มาวางไว้ ก็ช่วยเพิ่มความสดใสและชีวิตชีวา
ทำให้น่านั่งทำงานไม่เบาแล้ว
4. แสงสว่างที่เพียงพอ
การเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมกับการนั่งทำงาน ถือเป็นสิ่งสำคัญของการทำงานที่ บ้ า น
เพราะบางห้องอาจทำให้รู้สึกเอื่อย เหนื่อยล้า และไม่มีแรงบันดาลใจได้
ฉะนั้นผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ จึงแนะนำให้นั่งทำงานในห้องที่ให้พลังงานมากที่สุด
ซึ่งปกติแล้วจะเป็นห้องที่วิวดีและมีแสงธรรมชาติมาก
อย่ างไรก็ตามอีกหนึ่งเคล็ดลับบอกว่า ควรเลือกห้องที่มีแสงสว่างเพียงพอและติ ดตั้งไฟ
ในตำแหน่งที่เหมาะสมหลีกเลี่ยงห้องที่มีแสงสว่างมาจากจุดเดียว
พย าย ามเลือกห้องที่มีแสงสว่างหลายแหล่ง ซึ่งจะทำให้แสงกระจายตัว ช่วยลดอาการ ป ว ด ตา
แถมยังช่วยลดแสงสะท้อนและความสว่างจ้าของหน้าจอด้วย
5. ตั้งกฎกับคนในครอบครัว
ถ้าหากใน บ้ า น มีสมาชิกอยู่ด้วยกันหลายคน เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง หรือเพื่อน ให้บอกกล่าว
กับทุ กคนให้ชัดเจนว่า เราว่างตอนไหน อะไรที่ทำได้ อะไรทำไม่ได้
เพื่อช่วยให้เข้าใจตรงกันและไม่ส่งผลกระทบต่องาน เนื่องจากบางครั้งคนที่อยู่ด้วย
อาจจะคาดหวังให้เราคุยเล่นหรือทำงาน บ้ า น บ้ า ง
ซึ่งความจริงแล้วก็พอช่วยได้ บ้ า ง เล็กน้อย แต่ต้องไม่ทำประจำ จนทำให้เวลา
และประสิทธิภาพในการทำงาน แ ย่ ลง ส่วน บ้ า น ที่มีเด็ กวัยเรียน
ที่พอจะรู้เรื่องรู้ราวอยู่ บ้ า ง ให้บอกขอบเขต เวลาว่าง และเวลาเลิกงานกับพวกเขา
อย่ างชัดเจน
อาจจะเป็นการล็อกประตูห้องไว้ก่อน ติ ดป้ายบอกว่ากำลังทำงานอยู่
หรือกำหนดเวลาว่าสามารถเข้ามาได้ตอนไหนก็ได้
6. กำหนดเวลาทำงาน
แม้ว่าการทำงานที่ บ้ า น จะมีข้อดีมากมาย แต่หลายครั้งก็กินเวลาชีวิตอย่ างไม่รู้ตัว
เช่น ทำให้บางคนเริ่มงานเร็วกว่าปกติ ทำให้บางคนทำเพลินจนลืมเวลาพัก
และทำให้บางคนติ ดพันจนเลิกช้ากว่าเดิม จึงส่งผลให้การใช้ชีวิตเริ่มไม่สมดุล
ฉะนั้นเคล็ดลับแรกของการทำงานที่ บ้ า น คือ การกำหนดตารางเวลาทำงาน
และปฏิบัติตามอย่ างเคร่งครัด
(ยกเว้นกรณีงานด่วน) อาจจะตั้งเวลาแจ้งเตื อนไว้ เพื่อช่วยให้ชีวิตมีแบบแผนมากยิ่งขึ้น
อย่ างไรก็ตาม การทำงานที่ บ้ า น มีสิ่งล่อลวงเยอะ ทำให้เ สียสมาธิได้ง่าย Alan Hedge
จึงให้คำแนะนำว่า ในช่วงแรก ๆ
ให้ทำตามกฎ 20-20-20 คือ ทำงาน 20 นาที พักเบรก 20 วินาที โดยในช่วงพักเบรกให้มองไกล
ออกไปจากงาน 20 ฟุต เพื่อช่วยเบี่ยงเบนความสนใจ เนื่องจากคนเรามักจะหลุดโฟกัส
หรือมีความมุ่งมั่นน้อยลงภายใน 20 นาทีนั่นเอง
ขอบคุณที่มา : jingjai999