1. เหยี ยบคันเร่งอยู่บ่อยครั้ง
การเหยี ยบคันเร่งอยู่บ่อย ๆ เพื่อที่จะเร่งเครื่องให้แซงได้เร็วขึ้น ระบบเกียร์นั้น
จะทดเกียร์ให้ต่ำลงเพื่อเป็นการเรียกแรงบิดจากเครื่องยนต์อย่ างรวดเร็ว
ซึ่งแน่นอนว่าการทำเช่นนี้อยู่บ่อย ๆ นั้น
จะส่งผลทำให้ชุดเกียร์มีความเสี ยหาย มีความสึกหรอ และอายุการใช้งาน
นั้นก็จะน้อยลงกว่าปกติ
2. เร่งเครื่อง แล้วใส่เกียร์ D
หลาย ๆ คนมักจะออกรถแบบแรง ๆ ด้วยการเร่งเครื่องแล้วค่อยใส่เกียร์ D การกระทำเช่นนี้
นั้นจะส่งผลต่อระบบกลไกของชุดเกียร์รวมไปถึงชุดที่ส่งกำลังจะทำให้เกิดความเสี ยหาย
ประสิทธิภาพการทำงานลดน้อยลง เสี ยหายได้เร็วขึ้น
3. จอดรถ อยู่บนเส้นทางลาดชัน
ก่อนที่จะเข้าเกียร์ P ให้เลื่อนเกียร์ไปยังเกียร์ N แล้วดึงเบรคมือจนสุดแล้วค่อย ๆ ทำการ
เบรกเพื่อที่จะให้แน่ใจว่ารถไม่ไหล แล้วจึงเข้าเกียร์ P
จะช่วยยืดอายุกลไกภายในของชุดเกียร์ไม่ให้ชำรุด ไม่ให้เกิดความเสี ยหาย
ก่อนเวลา
4. จอดติ ดไฟแดง เข้าเกียร์ P
เกียร์ P มาจากคำว่า Park จะถูกใช้งานก็ต่อเมื่อเมื่อต้องการที่จะจอดรถในที่จอดเป็น
กิจจะลักษณะส่วนในการใช้เกียร์ P ขณะจอดรถติ ดไฟแดงนั้น
จะนำมาซึ่งความเสี ยหายต่อชุดเกียร์หากได้เกิดอุบั ติเหตุเกิดขึ้นมีรถมาชนในส่วน
ของท้ายรถ การจอดรถติ ดไฟแดงนั้น ควรใช้เป็นเกียร์ N หรือ D และให้เหยี ยบเบรค
เอาไว้จะดีกว่า การที่เราเข้าเกียร์ P เอาไว้
5. ปล่อยรถไหลลงเนิน ใช้เกียร์ N
หลาย ๆ คนจะชอบใช้วิ ธีนี้ เพราะมีความคิดที่ว่าจะช่วยประหยัดน้ำมันแต่รู้หรือไม่ว่า
นอกจากที่ไม่ช่วยทำให้เราประหยัดน้ำมันแล้วนั้น ในทุ ก ๆ ครั้งที่ได้มีการเปลี่ยนเกียร์
ไปยังตำแหน่ง N ตัวระบบจะตัดน้ำมันเกียร์ออกมาหล่อเลี้ยง ระบบกลไกเกียร์อัตโนมัติ
จะทำให้มีความสึกหรอได้อย่ างรวดเร็ว ประสิทธิภาพการทำงานนั้น
ลดลงที่สำคัญการปล่อยไหล โดยที่ใช้เกียร์ N ส่งผลทำให้การควบคุมรถทำได้ย าก
และค่อนข้างเกิดอั นตรายได้ง่ายโดยเฉพาะในช่วงเส้นทางที่มีความลาดชัน
ทำให้รถมีความเร็วสูงขึ้น
ขอบคุณที่มา : postsod