1. ตำหนิพนักงานอย่ างเดียว ไม่เคยชื่นชม
ทุ กคนทำผิ ดพลาดกันได้ หัวหน้าที่ดีควรใช้ความผิ ดพลาดของลูกน้องเป็นบทเรียน
โดยมุ่งเป้าหมาย ไปที่วิ ธีการแก้ปัญหา ไม่ใช่ตำหนิให้ลูกน้องเสี ยกำลังใจ
โดยอาจจะเพิ่มช่องทางพัฒนาตนเอง ให้กับลูกน้อง หรือเปลี่ยนกลยุทธ์
การทำงานต่าง ๆเพื่อไม่ให้ปัญหาเหล่านั้นเกิดขึ้นซ้ำอีกซึ่งหัวหน้าก็ควรร่วมแก้ปัญหา
ไปด้วยกันและอย่ าลืมให้กำลังใจลูกน้องเสมอ
2. พย าย ามควบคุมพนักงานทุ กอย่ าง
การบริหารจัดการ ลูกน้องแบบ Micro Management โดยพย าย ามออกคำสั่ง
และควบคุมลูกน้องตลอดไม่ใช่เรื่องดี
เพราะทำให้ลูกน้องไม่สามารถทำงานชิ้นนั้น ๆ ได้อย่ างเต็มที่ ยิ่งไปกว่านั้น
จะทำให้ลูกน้องข าดแรงบันดาลใจที่จะทำอะไรใหม่ ๆ อีกด้วย
ดังนั้น จงให้อิสระแ ก่พนักงาน และคอยเสนอคำแนะนำต่าง ๆ
อย่ างเป็นระยะก็เพียงพอแล้ว
3. โมโหง่าย ใช้อ ารมณ์กับพนักงาน
หากหัวหน้า ใช้อ ารมณ์มาก ๆ หรือโมโหง่ายในเรื่องเล็กน้อยก็จะก่อให้เกิดผลเสี ย
เพราะลูกน้องจะพย าย ามออกห่างจากหัวหน้าหากมีปัญหาอะไร
ก็จะไม่กล้าปรึกษาหัวหน้าเช่นเดียวกันในทางกลับกัน ถ้าหัวหน้าสามารถควบคุมอ ารมณ์
ได้ดี ลูกน้องก็จะกล้าพูดคุยด้วยและทำงานร่วมกันอย่ างมีความสุขยิ่งขึ้น
4. สั่งงานครั้งละมากเกินไป
หากหัวหน้าสั่งงาน ครั้งละมากเกินไป พนักงานก็จะรู้สึกหมดกำลังใจและอาจจะมี
ประสิทธิภาพการทำงานลดลงดังนั้น หัวหน้าจึงควรแบ่งการแจกจ่าย
งานเพื่อให้ลูกน้องจัดลำดับความสำคัญงานต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
5. ลังเล ไม่ตัดสินใจจนพนักงานทำงานต่อไม่ได้
เคยมีคนกล่าวไว้ว่า “การไม่ตัดสินใจ แ ย่ กว่าการตัดสินใจผิด” ในฐานะหัวหน้าที่ต้องตัดสินใจ
เรื่องต่าง ๆ ในทุ กวันลูกน้องจะรอการตัดสินใจจากหัวหน้าเสมอ เพื่อให้งานดำเนินต่อไปได้
ซึ่งการตัดสินใจผิ ดพลาดก็ไม่ใช่เรื่อง แ ย่ เสมอไปตราบเท่าที่หัวหน้าสามารถแก้ไข
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ลูกน้องจะรู้สึกประทับใจที่หัวหน้าลงมือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้อย่ างรวดเร็ว
6. เปลี่ยนใจไปมาจนพนักงานตามไม่ทัน
หัวหน้าบางคน มีโปรเจคใหม่ ๆ มาให้ลูกน้องทำเสมอ ในบางครั้งก็เปลี่ยนโปรเจคไปมา
จนลูกน้องตามไม่ทันทำให้ลูกน้องอาจจะเกิดคำถามว่าเป้าหมายจริง ๆ
คืออะไรกันแน่ ดังนั้นหลังจากนี้หากมีโปรเจคใหม่ ๆหัวหน้าก็ควรปล่อย ให้ลูกน้อง
ทำทีละโปรเจคอย่ างเต็มที่
7. จัดประชุมพร่ำเพรื่อ
การจัดประชุมทุ กครั้ง ควรมีเป้าหมายที่ชัดเจน เช่น เพื่อระดม ส มอง เพื่อตัดสินใจเรื่องสำคัญ
ซึ่งก่อนประชุมทุ กครั้งหัวหน้าควรแจ้งให้ชัดเจนว่าจะคุยเรื่องอะไรบ้าง
นอกจากนี้ ควรให้โอกาสลูกน้องเลือกว่าจะเข้าหรือไม่เข้าประชุมใด เป็นต้น
8. สื่อส ารกับพนักงานไม่ชัดเจน
เมื่อสื่อส ารกับพนักงานหัวหน้า ควรบอกจุดมุ่งหมาย และรายละเอียดของงานต่าง ๆ ให้ชัดเจน
รวมถึงควรสนับสนุน ให้ลูกน้องกล้าบอกเมื่อมีสิ่งที่หัวหน้าพูด หรือทำไม่ถูกต้อง
ขอบคุณที่มา : fakhaikid