1. หารายได้เสริม
ถึงจะเป็น มนุษย์เ งิ นเดือนที่ได้เ งิ นเดือนน้อย แต่ถ้ามองหาช่องทางทำร า ยได้เสริมได้
ก็สามารถมีเ งิ นเก็บได้เป็นกอบเป็นกำเช่นเดียวกัน ลองมองหาช่องทางสร้างร า ยได้เสริม
ที่ตัวเองสามารถทำได้โดยไม่กระทบกับงานหลัก
และนำร า ยได้เสริมที่ได้มาเก็บออมเพิ่มด้วยรับรองได้เลยว่าเป้าหมายในการเก็บเ งิ นนั้น
ไม่มีไกลเกินเอื้อมแน่นอนซึ่งอาชีพเสริมที่มนุษย์เ งิ นเดือนสามารถทำได้ก็มีหลากหล า ย
เช่น ข า ยข้าวกล่อง
ข า ยเสื้อผ้าออนไลน์หลังเลิกงาน รับจ้างทำความสะอาดหรือทำงานพาร์ตไทม์
อยู่ที่ความถนัดของแต่ละคน
2. แบ่งเงิ นออมทันทีที่ได้รับเ งินเดือน
ถ้าหากคิดว่าในระหว่างเดือนอาจจะไม่สามารถเก็บเ งิ นได้ แนะนำให้ออมก่อนใช้
โดยหักเ งิ นเพื่อเก็บสะสมทันทีที่ได้รับเ งิ นเดือน มาจะช่วยให้เราสามารถเก็บเ งิ นได้
อ ย่ างสม่ำเสมอทุ กเดือน นอ กจากนี้ยังควรตั้งกฎให้ตัวเองเอาไว้ด้วยว่า
ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้นก็ต ามห้ามนำเ งิ นเหล่านี้มาใช้โดยเด็ดข า ด ยกเว้นในกรณี
ฉุ ก เ ฉิ น จริง ๆ
เท่านั้นสำหรับตัวเลขที่เหมาะสมก็คือ อาจจะเริ่มแบ่งเ งิ นไว้สำหรับออมสัก 10 เปอร์เซน
ของเ งิ นเดือนก่อนและเมื่อสามารถควบคุมค่าใช้จ่ายตัวเองได้แล้วก็ค่อย ๆ เพิ่มขึ้น
ไปเรื่อย ๆ เช่น 15 เปอร์เซน, 20 เปอร์เซน
แต่ก็อ ย่ าให้มากจนเบียดเบียนกับเ งิ นที่ต้องใช้ในแต่ละเดือนเพราะถ้าหากเ งิ นในแต่
ละเดือนไม่พอใช้ สุดท้ายก็ต้องกลับมาหยิบเ งิ นตรงนี้ไปใช้อยู่ดี
3. สร้างกฎเล็ก ๆ น้อย ๆ
การสร้างกฎเล็ก ๆ น้อย ๆ ในการเก็บเ งิ นก็เป็นอีกวิ ธีหนึ่งที่จะช่วยให้เราเก็บเ งิ นได้มากขึ้น
เช่น ทุ กครั้งที่ได้ธนบัตรใบละ 50 บาท ให้เก็บไว้ทันที เก็บเ งิ นเพื่อออมเพิ่มอีก 20เปอร์เซน
จากค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยที่จ่ายไป แบ่งเ งินไว้เป็นถุง ๆ เพื่อใช้ในแต่ละวัน
แต่ละวันเหลือเศษเหรียญกี่บาท ให้หยอ ดกระปุกเก็บไว้ทั้งหมด
4. จดบันทึกทุ กรายรับ-รายจ่าย เพื่อหารอยรั่ว
วิ ธีควบคุมค่าใช้จ่ายที่ได้ผลดีที่สุดก็คือ การทำบันทึกร า ยรับ-ร า ยจ่าย
ไม่ว่าจะมีร า ยรับหรือร า ยจ่ายอะไร ก็ต้องจดลงในบันทึกเสมอเพื่อที่เราจะได้รู้ว่า
ในแต่ละเดือน เราได้เ งิ น มาเท่าไร และใช้จ่ายไปกับเรื่องอะไรบ้ าง ค่าใช้จ่ายไหน
จำเป็นหรือเป็นค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยที่ทำให้เราเ สี ยเ งิ นทิ้งไปเปล่า ๆ
เมื่อเรารู้แล้วให้รีบอุดรอยรั่วตรงนั้นด้วยการลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นลง ประหยัดในสิ่ง
ที่ควรประหยัด ก็จะเปลี่ยน มาเป็นเ งิ นออมได้ง่ายขึ้น
5. ตั้งเป้าหมายให้ตัวเอง
แม้ว่าจะมีเงิ นเดือนน้อย แต่ถ้าหากใช้การตั้งเป้าหมายร่วมด้วยในการออมเ งิน
ก็จะช่วยให้คุณมีวินัยในการใช้เ งินมากขึ้น โดยคุณอาจจะลองตั้งเป้าหมายให้ตัวเอง
มีเงิ นเก็บสะสมเท่านั้นเท่านี้ในเวลากี่ปี และใช้เป้าหมายนั้นผลักดันตนเอง
เช่น อย ากมีเ งินแสน ภายใน 2 ปี, อย ากมีเ งิ นล้าน ภายใน 10 ปี,
อย ากเก็บเ งิ นไปเที่ยวต่างประเทศ ภายใน 3 ปี จะทำให้คุณมีกำลังใจในการออม
แต่อ ย่ าให้กล า ยเป็นความกดดันจเกินไป เพราะหากเกิดปัญหาเ งิ นไม่พอใช้ขึ้น มา
อาจทำให้แผนการ ออมเ งิ นของคุณพังไม่เป็นท่าได้
ขอบคุณที่มา : deejaiplus