วันนี้เราจะพาคุณไปดูร า ยละเอียดในเรื่องของค่าใช้จ่ายในการรังวัดที่ดิน ไม่ว่าจะเป็น
ที่แบ่งแยกหรือสอบเขตโฉนดที่ดิน ว่ามีค่าใช้จ่ายและขั้ น ต อ นในการทำอ ย่ างไร
จะมีวิ ธีอะไรบ้างเราไปดูพร้อมๆกันเลย
สำหรับคนไหนที่มีที่ดิน ควรรู้ไว้ ในเรื่องของค่าใช้จ่ายในการรังวัด คุณประโยชน์ต่างๆ
โฉนดที่ดิน เพื่อพิสูจน์สอบสวน การตรวจ ที่เกี่ยวข้ องกับหนังสือรับรองการทำประโยชน์
สิ่งที่เจ้าของที่ดินควรทราบเอาไว้
1 ที่ดินที่ตนเองครอบครองอยู่มีหลักฐานอะไรบ้าง ให้นำหลักฐานนำไปประกอบการยื่นคำขอรังวัดที่ดิน
2 ที่ดินของคนตั้งอยู่ที่ใด หมู่ที่ใด ตำบลอะไร อำเภออะไร และจังหวัดอะไร
3 เจ้าของที่ดินผืนนี้ คนที่อยู่ข้างเคียงมีผู้ใดบ้าง ที่ดินติดที่สาธารณะประโยชน์หรือไม่
4 สภาพที่ดินในบริเวณนั้นเป็นอ ย่ างไร อ ย่ างเช่นที่นา ทำสวน ทำไร่ หรือเป็นที่อยู่อาศัย
การยื่นคำขอรังวัดที่ดิน
เราสามารถยื่นคำขอรังวัดที่ดินได้ที่สำนักงานที่ดินจังหวัด หรือจะเป็นสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา
สำนักงานที่ดินอำเภอที่ตั้งอยู่ โฉนดที่ดินให้ติดต่อสำนักงานที่ดินจังหวัด หรือจะเป็นสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ ติดต่อได้ที่สำนักงานที่ดินอำเภอ ที่ที่ดินนั้นตั้งอยู่ เว้นแต่ว่า
ได้มีการยกเลิกอำนาจนายอำเภอไปแล้ว ให้ติดต่อ กับสำนักงานที่ดินจังหวัด
หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ที่ที่ดินนั้นตั้งอยู่ หลักฐานในการประกอบการขอรังวัด
แบ่งแยก สอบเขตโฉนดที่ดิน หนังสือรับรองการทำประโยชน์
1 บุคคลเหล่านั้นจะต้องมีบัตรประจำตัวประชาชน ทะเบียนบ้าน หากมีทะเบียนสมรสให้ใช้ทะเบียนสมรสควบคู่ด้วย
หากมีการเปลี่ยนชื่อนามสกุลจะต้องมีหลักฐานการเปลี่ยนชื่อนามสกุล
2 จะต้องมีโฉนดที่ดินหรือ หนังสือรับรองในการทำประโยชน์
3 จะต้องมีหลักฐานการประกอบการ ในการขอทางวัด รวมโฉนดที่ดิน
4 โฉนดที่ดินที่ขอร่วม จะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้
จะต้องเป็นหนังสือสำคัญ ที่แสดงก ร ร มสิทธิ์ในประเภทเดียวกัน เว้นแต่ว่า โฉนดแผนที่ กับโฉนดที่ดินให้รวมกันได้
ผู้ที่มีชื่อผู้ที่ถือ ก ร ร มสิทธิ์ที่ดินในโฉนดที่ดินเหมือนกันทุกฉบับ และจะต้องยังมีชีวิตอยู่คน
จะต้องเป็นผื่นที่ดินติดต่อผืนเดียวกันในจังหวัด และสำนักงานที่ดินเดียวกัน
ขั้ น ต อ นการรังวัด แบ่งแยก รวม สอบเขตที่ดิน
1 รับบัตรคิวจากประชาสัมพันธ์
2 รับคำขอสอบสวน ชำระเงินค่าธรรมเนียมคำขอ
3 ส่งฝ่ายรังวัดดำเนินการ นัดวันทำการรังวัด กำหนดตัวช่างรังวัด กำหนดเงิน มัดจำรังวัด
4 ค้นหาร า ยชื่อเจ้าของที่ดินข้างเคียง และพิมพ์หนังสือแจ้งข้างเคียง
5 รับหนังสือแจ้งข้างเคียง วางเงิน มัดจำรังวัด รับหลักเขตที่ดิน
6 ช่างรังวัดออ กไปทำการรังวัดต ามวันที่กำหนดไว้
7 คำนวณเนื้อที่ และเขียนรูปแผนที่ในโฉนดที่ดิน
8 ส่งเรื่องรังวัดคืนฝ่ายทะเบียน เรียกผู้ขอมาจดทะเบียน
9 สอบสวนจดทะเบียนแบ่งแยก
10 ตรวจอายัด
11 ชำระเงินค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน และค่าโฉนด
12 แก้ร า ยการทะเบียน และจดทะเบียนแบ่งแยก
13 สร้างโฉนดที่ดินแปลงแบ่งแยก
14 เสนอเจ้าพนักงานที่ดินลงนามและประทับตรา
15 แจกโฉนดที่ดินแปลงแบ่งแยก
ขั้ น ต อ นการขอแบ่งแยกตรวจสอบเนื้อที่ และรวมหนังสือรับรองการทำประโยชน์
1 เจ้าของที่ดินนำหนังสือรับรองการทำประโยชน์และเอกส า ร ต่าง ๆ ไปยื่นคำขอ
2 ให้ถ้อยคำในการนัดรังวัด เพื่อ กำหนดวันทำการรังวัด
กำหนดค่าใช้จ่ายในการรังวัด
กำหนดเจ้าหน้าที่และสถานที่นัดพบ
3 รับเจ้าหน้าที่ไปทำการรังวัดและปักหลัก จนเสร็จการ
4 ลงนามในเอกส า ร ต่าง ๆ
5 รอรับหนังสือแจ้งให้ไปดำเนินการจดทะเบียน ฯ ล ฯ
ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรังวัดหนังสือรับรองการทำประโยชน์ และโฉนดที่ดิน
ร า ยละเอียด
1 ค่าธรรมเนียมออ กหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ที่ดินเนื้อที่ไม่เกิน 20 ไร่ แปลงละ 30 บ า ท
ที่ดินเนื้อที่เกิน 20 ไร่ ส่วนที่เกิน เศษของไร่ให้คิดเป็นหนึ่งไร่ ไร่ละ 2 บ า ท
2 ค่าธรรมเนียมการพิสูจน์สอบสวนหรือตรวจสอบเนื้อที่เกี่ยวกับหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ถ้าเรียกเป็นร า ยแปลง แปลงละ 30 บ า ท
ถ้าเรียกเป็นร า ยวัน วันละ 30 บ า ท
ค่าคัดหรือจำลองแผนที่ แปลงละ 30 บ า ท
ค่าคำนวณเนื้อที่หรือสอบแส แปลงละ 30 บ า ท
ค่าจับระยะ แปลงละ 10 บ า ท
3 ค่าธรรมเนียมออ กโฉนดที่ดิน
ที่ดินเนื้อที่ไม่เกิน 20 ไร่ แปลงละ 50 บ า ท
ที่ดินเนื้อที่เกิน 20 ไร่ ส่วนที่เกิน เศษของไร่ให้คิดเป็นหนึ่งไร่ ไร่ละ 2 บ า ท
4 ค่าธรรมเนียมรังวัดเกี่ยวกับโฉนดที่ดิน
ถ้าเรียกเป็นร า ยแปลง แปลงละ 40 บ า ท
ถ้าเรียกเป็นร า ยวัน วันละ 40 บ า ท
ค่าคัดหรือจำลองแผนที่ แปลงละ 30 บ า ท
ค่าคำนวณเนื้อที่หรือสอบแส แปลงละ 30 บ า ท
ค่าจับระยะ แปลงละ 10 บ า ท
5 ค่าธรรมเนียมเบ็ดเตล็ด
ค่าคำขอ แปลงละ 5 บ า ท
ค่ามอบอำนาจ เรื่องละ 20 บ า ท
ค่าปิดประกาศให้แก่ผู้ปิดประกาศ แปลงละ 10 บ า ท
ค่าพย านให้แก่พย าน คนละ 10 บ า ท
ค่าหลักเขต หลักละ 15 บ า ท
6 ค่าใช้จ่ายการรังวัดเกี่ยวกับโฉนดที่ดินหรือพิสูจน์สอบสวน หรือตรวจสอบเนื้อที่เกี่ยวกับหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์
ค่าพาหนะเดินทางให้แก่เจ้าพนักงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ และคนงานจ้างไปทำการรังวัด
ให้จ่ายในลักษณะเหมาจ่ายต ามระเบียบ กระทรวงมหาดไท ยด้วยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
ค่าเบี้ยเลี้ยงให้แก่เจ้าพนักงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ และค่าจ้างคนงานที่จ้างไปทำการรังวัด
ให้จ่ายในลักษณะเหมาจ่ายต ามระเบียบ กระทรวงมหาดไท ย ด้วยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
ค่าป่ ว ยการให้แก่เจ้าพนักงานผู้ปกครองท้องที่ หรือผู้แทนที่ไปในการรังวัด ไม่เกินอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการรังวัดให้จ่ายในลักษณะเหมาจ่ายต ามระเบียบกระทรวงมหาดไท ย
ด้วยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง เรื่องละ 100 บ า ท
การคิดค่าใช้จ่ายในการรังวัดที่ดิน
ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการรังวัดที่ดินที่ผู้ขอจะต้อชำระต ามกฎหมาย กฎกระทรวง ฉบับที่ 47 และ 48
ออ กต ามความในพระราชบัญญัติ ให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มีดังนี้
1. ค่าธรรมเนียมรังวัด
เกี่ยวกับโฉนดที่ดิน แปลง/วัน/ละ 40 บ า ท
เกี่ยวกับหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แปลง/วัน/ละ 30 บ า ท
2 ค่าหลักเขตที่ดิน หลักละ 15 บ า ท ต ามที่ใช้จริง
3 ค่าใช้จ่ายในการรังวัดลักษณะเหมาจ่าย ดังนี้
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เช่น ค่าส่งหมายข้างเคียงทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ 200 บ า ท
ค่าป่ ว ยการเจ้าพนักงานผู้ปกครองท้องที่ ไม่เกินอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
ค่าพาหนะพนักงานเจ้าหน้าที่และคนงานรังวัด วันละไม่เกิน 1,600 บ า ท
ค่าคนงานรังวัด คน/วัน 420 บ า ท ต ามเขตจังหวัดที่กระทรวงการคลังกำหนด
ทั้งนี้ การกำหนดวันทำการรังวัดต ามข้ อ 3.3 และ 3.4 กำหนดต ามจำนวนเนื้อที่ ดังนี้
การรังวัดเกี่ยวกับโฉนดที่ดิน
1 เนื้อที่ไม่เกิน 5 ไร่ เวลาทำการ 1 วัน ค่าใช้จ่ายจะเรียกได้ไม่ 3,480 บ า ท
2 เนื้อที่ไม่เกิน 15 ไร่ เวลาทำการ 2 วัน ค่าใช้จ่ายจะเรียกได้ไม่เกิน 6,760 บ า ท
3 เนื้อที่ไม่เกิน 30 ไร่ เวลาทำการ 3 วัน ค่าใช้จ่ายจะเรียกได้ไม่เกิน 10,040 บ า ท
4 เนื้อที่ไม่เกิน 50 ไร่ เวลาทำการ 4 วัน ค่าใช้จ่ายจะเรียกได้ไม่เกิน 13,320 บ า ท
การรังวัดเกี่ยวกับหนังสือรับรองการทำประโยชน์
เนื้อที่ไม่เกิน 20 ไร่ เวลาทำการ 1 วัน ค่าใช้จ่ายจะเรียกได้ไม่เกิน 2,640 บ า ท
เนื้อที่ไม่เกิน 50 ไร่ เวลาทำการ 2 วัน ค่าใช้จ่ายจะเรียกได้ไม่เกิน 5,080 บ า ท
หมายเหตุ
ในกรณีที่ว่า เนื้อที่ดินเกินกว่า 50 ไร่ ทุก 50 ไร่ หรือว่าเศษเกินกว่า 25 ไร่ ให้เพิ่มวันทำการรังวัดจำนวน 1 วัน
ในกรณีที่ดินตั้งอยู่ในพื้นที่องค์กรปกครองรูปแบบพิเศษ อ ย่ างเช่น กรุงเทพมหานคร เมืองพัทย า
หรือเทศบาลนครต่างๆ เทศบาลเมือง หรือว่าเป็นสวนไม้ยืนต้น อ ย่ างเช่น สวนผลไม้ สวนย าง
สวนปาล์มต่างๆ ให้เพิ่มวันทำการรังวัด 1 วัน
ในกรณีรังวัด จะต้องคำนวณจำนวนพื้นที่ ให้เพิ่มวันทำการรังวัด 1 วัน
ในกรณีที่รางวัดมีที่ดินข้างเคียงมากแปลง ในทุกๆข้างเคียง 30 แปลง หรือเศษเกินกว่า 15 แปลง ให้ทำการเพิ่มจำนวนในการรังวัด 1 วัน
ในกรณีการรังวัดแบ่งแยกจัดสรร ทุกๆ 8 แปลง หรือว่าเศษเกินกว่า 4 แปลง ก็ให้เพิ่มวันทำการรังวัด 1 วัน
ในกรณีที่เหตุข้ อ 1 และข้ อ 2 รวมอยู่ในเรื่องเดียวกัน ให้เพิ่มวันทำการรังวัด ในกรณีใดกรณีหนึ่งเท่านั้น
เป็นอ ย่ างไรบ้างกับประโยชน์ที่นำมาฝากในวันนี้ หวังว่าความรู้เกี่ยวกับที่ดิน จะสามารถนำไปใช้ประโยชน์ให้กับในชีวิตประจำวัน เพื่อที่จะไม่โดนคนอื่นเขาโ ก ง
ที่มา postsod