จำไว้ให้ขึ้นใจ ห้ามค้ำประกันหนี้ให้ใครเด็ด ข า ด ถ้าไม่ใช่บุคคลเหล่านี้
หัวอกของผู้ค้ำประกัน ทุ ก วันนี้ เ จ็ บ ป ว ด และ เ จ็ บ ช้ำยิ่งนัก เมื่อลูก ห นี้ ไม่ยอมชำระ ห นี้ “ไม่มี ไม่หนี ไม่จ่าย”
เจ้า ห นี้ ก็จะฟ้องผู้ค้ำประกัน เข้ามาในคดีด้วย และสุดท้าย ผู้ค้ำประกัน ก็ต้องร่วมรับผิดใน ห นี้ ที่ตนไม่ได้เป็นผู้ก่อขึ้น
คนต้องการผ่อนบ้าน คนต้องการผ่อนรถ คนต้องการกู้ยืม เ งิ น คนที่ต้องการทำงาน คนเหล่านี้ล่ะครับ
จำเป็นต้องใช้คนค้ำประกัน และเมื่อเขามาให้เราช่วยค้ำประกันให้ เราจะทำ อ ย่ า ง ไรดี?
ต้องท่องจำไว้ให้แม่นเลยครับว่า “เราจะไม่ค้ำประกันให้ใครเป็นอัน ข า ด ” ยกเว้น พ่อ-แม่ของเรา ลูกของเรา
สามีหรือ ภ ร ร ย า ตามกฎหมายของเราเท่านั้น ส่วนญาติพี่น้อง เพื่อนสนิท เพื่อนทั่วไป ต้องปฏิเสธ อ ย่ า ง หนักแน่น
ไม่ว่าเราจะถูกตื้อ หรือขอร้องเพียงใดก็ตาม
ทำไมต้องใจแข็ง? เพราะอะไรน่ะหรือครับ “เพราะเมื่อผู้กู้ไม่จ่าย ผู้ค้ำประกันก็ต้องจ่าย”
เจ้า ห นี้ ต้องฟ้องผู้ค้ำประกัน อ ย่ า ง แน่นอน และโดยมากเมื่อมีการ บั ง คั บ ค ดี มักจะเป็นผู้ค้ำประกันที่มีทรัพย์สินให้ยึด
หรือมี เ งิ น เดือนให้อายัดกันอยู่เสมอ
มีเรื่องจริงเรื่องหนึ่งเล่าให้ฟังเป็นอุทาหรณ์..
ลุงคนหนึ่ง ไปค้ำประกันรถไถยี่ห้อดังให้ญาติ ซึ่งญาติคนนี้ เป็นญาติสนิทบ้าน ติ ด กัน ปรากฏว่าญาติไม่จ่าย
บริษัทรถไถก็ฟ้อง ฟ้องทั้งลูก ห นี้ และผู้ค้ำประกันทั้งสองคน เจ้า ห นี้ บั ง คั บ ค ดี โดยอายัดสิทธิเรียกร้อง
ของผู้ค้ำประกันคนหนึ่ง ซึ่งก็คือ ลุงคนนี้ล่ะ
ส่วนญาติซึ่งเป็นลูก ห นี้ ไม่มีทรัพย์สินอะไร หนำซ้ำยังเดินลอยหน้าลอยตาให้เห็น ไม่รู้สึก ทุ ก ข์ ร้อนอะไร อ ย่ า ง ใดทั้งสิ้น
จนลุง ทุ ก ข์ ใจแทบ อ ย า ก จะหายไปจากโลกนี้ ครอบครัวลูกหลานก็พา ทุ ก ข์ ใจไปด้วย เ ดื อ ด ร้ อ น กันไปหมด
เวลาเจ้าหนี้ฟ้องบังคับชำระหนี้กับลูกหนี้ เจ้าหนี้จะฟ้องลูกหนี้เป็นจำเลยที่ 1 และฟ้องผู้ค้ำประกันเป็นจำเลยที่ 2 เสมอ
เมื่อลูกหนี้และผู้ค้ำประกันมาศาล และมีการตกลงประนีประนอมยอมความกัน ลูกหนี้ตกลงผ่อนชำระให้กับเจ้าหนี้
แต่เมื่อลูกหนี้ผิดนัดไม่ผ่อนชำระหนี้ เจ้าหนี้จะดำเนินการสืบทรัพย์จำเลย ทุ ก คน หากเจอของใครก็จะ บั ง คั บ ค ดี เอากับคนนั้น
ซึ่งโดยมาก หวยมักจะออกที่ผู้ค้ำประกัน เนื่องจากเจ้าหนี้มักกำหนดคุณสมบัติของผู้ค้ำประกันเอาไว้แล้วตอนทำสัญญา
จึงไม่แปลกที่มักจะพบทรัพย์สินของผู้ค้ำประกัน มากกว่าที่จะพบทรัพย์สินของลูกหนี้
นี่แหละครับ เรื่องของการเป็นผู้ค้ำประกัน..
ซึ่งหากไม่จำเป็นจริงๆ ไม่ใช่คนในครอบครัวจริงๆ เช่น พ่อ แม่ แท้ๆ ของเรา ลูกของเรา สามีหรือ ภ ร ร ย า
โดยชอบด้วยกฎหมายของเรา ต้องจำไว้ให้ขึ้นใจเลยนะครับว่า “ห้ามค้ำประกันหนี้ให้ใครโดยเด็ด ข า ด ”
โดยเฉพาะ ญาติพี่น้อง เพื่อน แฟนที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส
รวมไปถึงพี่น้องแท้ๆ บางคน ก็ต้อง ร ะ วั ง ให้มากเช่นกัน จะได้ไม่ต้องมานั่งช้ำใจ กลุ้มใจ ผู้เขียนเอง
ก็ยึดหลักนี้มาโดยตลอดเช่นกัน ให้ช่วยอะไร ช่วยได้หมด ทุ ก เรื่อง มีข้อยกเว้นอยู่เพียงสองเรื่องเท่านั้น คือ
ให้เป็นผู้ค้ำประกัน และ ให้ยืม เ งิ น
เพราะเคยเจอประสบการณ์ เ ล ว ร้ า ย มาเช่นกัน ก่อนให้เราค้ำประกัน ก่อนจะยืม เ งิ น เรา
จะพูด ทุ ก อ ย่ า ง ส า ร พัดจนดูดีไปหมด น่าเห็นใจ น่าสง ส า ร อ ย่ า ง ที่สุด แต่เมื่อมีปัญหาแล้ว เปลี่ยนเป็นคนละคน
เขาถึงว่า “ไม่โดนกับตัวเอง ไม่มีวันเข้าใจ” ดังนั้น ไม่ค้ำประกันให้ใครเลย ดูจะเป็นทางออกที่ดีที่สุด ..ว่าไหมครับ?
ที่มา โค้ชวันพุธ กฤตวัฏ