1. ทำประกันสุ ขภาพเอาไว้ก็ดี
การเลือกทำประกั นสุ ขภาพให้ตัวเอง เป็นอีกทางเลือกเพื่อเพิ่ม
ความมั่นคงในชีวิตเพราะหากเกิดเจ็ บป่ว ย หรือประสบอุ บั ติ เห ตุ
ขึ้นมาต้องนอนโรงพย าบาจะได้มีคนเข้ามาดูแลในส่วนนี้ให้
ไม่ต้องมาคอยกังวลว่า จะมีเงิ นใช้จ่ายส่วนนี้หรือไม่
2. แบ่งเงิ นไปลงทุน
การที่มีร ายได้ไม่แน่นอน เราต้องวิ ธีสร้ างผลตอบแท น ให้เงิ น
เก็บของเราด้ว เช่น อาจแบ่ งเงิ นบางส่วนที่ได้มาไปลงทุ น
ให้มัน งอกเงยเป็นผลตอบ แทนในอนาคต ดีกว่าเก็บเงิ นไว้เฉย ๆ
และก็กันเงิ นไว้ลงทุ น อย่ างน้อย 10 % ของ ร ายได้ของเรา การ
ลงทุ นก็ขึ้นกับว่า ยอมรับความเ สี่ ยงได้มากน้อยแค่ไหน
3. มีบัญชีที่ใช้จ่ายสำหรับฉุกเฉิน
เช่น อุบั ติเ หตุ เจ็ บป่ว ย รถเสี ย หรือไม่มีงาน เหล่านี้มีโอกาสเกิดขึ้น
ได้เสมอเพราะฉะนั้น จึงควรสำรอ งเงิ นฉุ กเฉิ นไว้เผื่อด้วย
แนะนำว่าอย่ างน้อย ๆ
ควรมีประมาณ 6 เท่าของค่าใช้จ่าย เพราะอย่ าลืมว่า คุณนั้นไม่ได้
มีสวั สดิการต่าง ๆ มาช่วย เหมือนมนุ ษย์เงิ นเดือนนะ จำไว้
4. ต้องให้ชัดเจน ในการวางแผนการใช้จ่าย
ใครที่มีร ายได้ไม่คงที่ในแต่ละเดือน จงรู้จักวางแผนชีวิต กับรายจ่ายที่จำเป็น
ในแต่ละเดือน จึงเป็น เรื่องที่สำคัญ
เช่น เราต้องจ่ายค่าอาหาร ค่าน้ำ ค่าไฟค่าเช่ าบ้าน ฯลฯ มากน้อยแค่ขนาดไหน
เพื่อจะได้จัดส รรเงิ นให้ได้ตามที่ต้องใช้มันจะช่วยให้เราคุมค่า ในการใช้จ่าย
ไม่ให้เผลอใช้เงิ นมากจนเกินตัว
5. ออมเงิ นเกษี ยณ เพื่ออนาคตจะได้ไม่ลำบาก
อีกเรื่องหนึ่ง ที่คุณเสี ยเปรี ยบพนักง านประจำ คือไม่มีหลั กประกันเช่น
ประกั นสั งคมกองทุ นสำรองเลี้ ยงชีพ กองทุ นบำเหน็ จบำนาญ
เพื่อเป็นเงิ นออมย ามเกษีย ณ ฉะนั้นแล้ว ควรสร้างหลักประกั นให้ตัวเอง
ได้แล้ว เช่น การนำเงิ นไปลงทุ นในกองทุ นรวม ทำประกั นชีวิตแบบบำน าญ
สมั ครสมาชิ กเพื่อออมเงิ นกับ กองทุ นการออ มแห่งชาติ เพื่อที่จะได้รับ
เงิ นสมทบจากรั ฐบ าล 50 – 100 % รับรองได้ว่าให้ผู้ประกอบ อาชี พอิส ระ
จะมีบำน าญใช้ในวัยเกษีย ณ เหมือนกับ พนักง านประจำ หรือข้าร าชการแน่!
ขอบคุณที่มา : tamnanna