Home ข้อคิดสอนใจ ค ว ร คิดเรื่องนี้ ไ ด้ แ ล้ ว เมื่อเรา อายุ 30 ปี

ค ว ร คิดเรื่องนี้ ไ ด้ แ ล้ ว เมื่อเรา อายุ 30 ปี

1. วางแผนเกษียณหรือยัง

“แ ก่ไม่ว่า แต่อย่ าแ ก่แบบไม่มีเ งินครับ” ที่บอกแบบนี้เพราะอย ากให้วางแผน

เกษียณกันไว ๆยิ่งวางเร็วยิ่งดี ดังนั้น การเริ่มต้นตั้งแต่วันนี้ ก็เพื่อผล

ประโยชน์สำหรับเราเองครับ ไม่ต้องลำบากลูกหลาน

 

2. สร้างงบการเงิ นในแบบของตัวเองได้แล้ว

แม้เพื่อน ๆ จะหาเงิ นได้มากแค่ไหน แต่หากบริหารเงิ นไม่ดี เงิ นที่ได้มาก็จะหายไปง่าย ๆ

เรียกว่า“ร วยเดย์ ร วยกันแค่วันสิ้นเดือน” ดังนั้น สิ่งที่

 

เพื่อน ๆ ต้องให้ความสนใจในลำดับถัดมาคือการสร้างงบรายจ่าย หากไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นยังไง

ให้เริ่มต้นจากงบการเ งิน 50-30-20 ดูครับ(สิ่งจำเป็น, สิ่งอย ากได้, ออมฉุ กเฉิน)

 

3. เริ่มทยอยปลดห นี้ให้หมดได้แล้ว

ไม่ว่าจะเป็นค่าผ่อนรถ, ค่าบัตรเครดิต, หรือแม้แต่ค่าผ่อนสินค้า 0% ต่าง ๆ

นั่นเพราะยิ่งปลดห นี้เร็วเท่าไหร่เราก็สามารถนำเงิ น

 

ไปต่อยอดได้มากขึ้นเท่านั้นครับ และถ้ายังไม่แน่ใจว่าจะปลดห นี้ยังไงดีแนะนำ

ให้เริ่มจากดูว่าเรามีห นี้ทั้งหมดกี่ราย,จำนวนเงิ นที่เป็นห นี้ของแต่ละราย

 

และอัตราด อกเบี้ย จากนั้นให้จัดลำดับห นี้โดยให้ห นี้ที่มีอัตราด อกเบี้ยสูงสุด

อยู่ด้านบน และเริ่มต้นปลดห นี้จากก้อนนั้นก่อนแล้วค่อย ๆทยอยปิดห นี้

ก้อนอื่น ๆ ต่อไปจนหมดครับ

4. รู้ตัวเองก่อนว่า มีอะไรมากกว่ากัน ระหว่าง “ทรัพย์สิน” กับ “ห นี้สิน”

หากว่าเพื่อน ๆ มีรายได้เดือนนึงหลักหลายหมื่น แต่กลับมีรายจ่ายสูงพอ ๆกับรายรับสิ่ง

ที่ควรใส่ใจอย่ างแรกเลย คือ ลิสต์รายการของทรัพย์สิน เพื่อ

 

เปรียบเทียบกับห นี้สินที่มีทั้งหมดครับและถ้าหากมานั่งงงว่า เฮ้ยเราก็มีสินทรัพย์เยอะนะ

มือถือรุ่นใหม่ ๆ, กล้องถ่ายรูปแพง ๆ ฯลฯ แต่ทำไมยังจนอยู่ มีแต่ห นี้สิน คิดง่าย ๆ

เลยครับมือถือ จำนวน 1 เครื่อง

 

ราคาประมาณ 25,000 – 30,000 บาทแต่ราคาขายต่อ มูลค่ามันหาย ไปแทบจะครึ่งนึง

แล้วครับแค่นี้ก็พอจะมองออกแล้วใช่มั้ยครับว่าเพื่อน ๆ ต้องเริ่มกลับมาวางแผนการเ งิน

ให้ตัวเอง

 

ได้แล้วเริ่มต้นง่าย ๆ ที่เริ่มสะสมทรัพย์สิน

ที่ก่อให้เกิดรายได้ เช่น หุ้น กองทุนรวม เป็นต้น

 

5. ศึกษาเรื่องภาษีได้แล้ว

ยิ่งรายได้มาก ก็อย่ าลืมว่าภาษีต้องเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว เพราะถือเป็นกฎหมายที่ทุ ก

คนในชาติต้องปฏิบัติตามสิ่งที่เพื่อน ๆ ควรศึกษาคือกฎหมาย

ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษี ไม่ว่าจะเป็นการลดหย่อน หรือการละเว้นใด ๆ ก็ตาม

 

6. คุณต้องมีเงิ นสำรองฉุ กเฉินอย่ างน้อย 6 เดือน

คิดจาก (รายจ่ายปกติต่อเดือน x 6 เดือน = เงิ นสำรองฉุ กเฉินที่ควรมี)เงิ นจำนวนนี้จะช่วยให้

เราสามารถรับมือกับปัญหาด้านการเงิ นได้

 

โดยไม่ต้องกู้ยืมเ งินคนอื่นเพราะการกู้ยืมเ งิน อาจจะทำให้เรากลับเข้าไปอยู่ในวงจรห นี้ อีกครั้ง

 

ขอบคุณที่มา : forlifeth

Comments are closed.

Check Also

แนวคิด10 ข้อ สอนลูกให้ได้ดี เติบโตไปจะได้ไม่ลำบาก

เรื่องราวสอนใจ เผิงลี่หยวน เธอได้แสดงความคิดเห็น กับเรื … …