สำหรับในวันนี้ ก็จะขอแนะนำบรรดาท่านพุทธบริษัท ให้พย าย ามใคร่ครวญถึงความต ายเป็นสำคัญ
เรื่องความ ต า ย นี่ก็ดี การควบคุมอ ารมณ์จิตให้ปราศจากความฟุ้งซ่านก็ดี ควรจะทำให้เป็นปกติ
ถ้าวันใดถ้าเราเผลอจากการควบคุมอ ารมณ์จิต ให้ระงับจากความฟุ้งซ่านก็ดี วันใดถ้าเราเผลอไปลืมนึก
ถึงความ ต า ย ก็ดี ก็จงประณามตนเองว่าเรานี้เ ล วเต็มทีแล้ว เพราะว่าองค์สมเด็จพ ระประทีปแก้วสอนตามความเป็นจริง
ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะว่าท่านทั้งหลายจะพิจารณาเห็นได้ว่า คนและสัตว์ทุ กอย่ าง ทั้งคนและสัตว์ที่เกิดมา
ต า ยให้เราดูเป็นตัวอย่ าง และในเรื่องความต ายนี้ไม่จำเป็นต้องศึกษาละเอียด เห็นกันอยู่แล้วทุ กคน
เพราะว่าคนส่วนใหญ่ลืมคิดไปว่าตัวเองจะต าย เคยไปในงานศ พชาวบ้าน แต่ไม่ได้เคยคิดว่าเราจะเป็นศ พ
อย่ างชาวบ้านที่เขาต ายกัน นี่เราประมาทกันอย่ างนี้ องค์สมเด็จพ ระชินสีห์จึงได้แนะนำว่า
“จงนึกถึงความ ต า ย เป็นอ ารมณ์ อย่ าประมาทในชีวิต คิดว่าเราจะไม่ ต า ย”
นี่เป็นความคิดผิด เรื่องนึกถึงความ ต า ย เป็นอ ารมณ์นี่เป็นความดี เป็นปัจจัยสำคัญให้เข้าถึงความเป็นพ ระโสดาบันได้ง่าย
จะยกตัวอย่ างบุคคลที่มีความเคารพในองค์สมเด็จพ ระจอมไตร
แล้วก็มีความเคารพในคำสั่งและคำสอน ขององค์สมเด็จพ ระสัมมาสัมพุทธเจ้า พ ระจอมไตรหรือพ ระพุทธเจ้า องค์เดียวกัน
นั่นก็คือเปสการีธิดา เปสการีธิดานี่เคยอยู่เมืองอาฬวี
วันหนึ่ง องค์สมเด็จพ ระชินสีห์ทรงเสด็จประทับสำราญอิริย าบถ อยู่ในพ ระคันธกุฎีมหาวิหาร
ในตอนเช้าองค์สมเด็จพ ระพิชิตมารทรงเสด็จไปแต่พ ระองค์เดียว ไม่มีใครติ ดตาม เข้าสู่เขตเมืองอาฬวี
องค์สมเด็จพ ระชินสีห์ถือตอไม้เป็นธรรมาสน์ที่ประทับ ประทับยับยั้งอยู่ตรงนั้น ชาวบ้านได้ฟังข่าวเข้าก็มาเฝ้าพ ระพุทธเจ้า
นำภัตตาหารมาถวาย ขณะนั้นเปสการีธิดาคือลูกสาวนายช่างหูก (เปสการี แปลว่า ช่างหูก, ธิดา แปลว่า ลูกสาว)
ทราบข่าวก็ไปเฝ้าพ ระพุทธเจ้ากับเขาเหมือนกัน เมื่อเข้าไปแล้วถวายอาหารแด่องค์สมเด็จพ ระภควันต์เสร็จ
หลังจากนั้นพ ระผู้มีพ ระภาคเจ้าก็ทรงเทศน์ ทรงเทศน์แบบสั้น ๆ ว่า
“ท่านทั้งหลายจงอย่ าประมาทในชีวิต เพราะว่าชีวิตเป็นของไม่เที่ยง แต่ว่าความ ต า ย เป็นของเที่ยง
ขอทุ กท่านจงคิดไว้เสมอว่า อย่ างไรก็ดีเราต้อง ต า ย แน่ สำหรับเวลากำหนดการ ต า ย ของเราไม่มีแน่นอน เพราะความต ายไม่มีนิมิตเครื่องหมาย
ท่านทั้งหลายจงประกอบแต่ความดีเข้าไว้ ถ้าใครสร้างความชั่ ว ต า ย แล้วจะไปอบายภูมิมีน ร ก
เป็นต้น เกิดมาเป็นคนก็จะมีแต่ความเร่าร้อน มีแต่ความลำบาก แต่ถ้าคนใดสร้างความดี คิดถึงความ ต า ย
ไม่ประมาทในชีวิต คิดไว้เสมอว่าเราต้อง ต า ย แน่
จงอย่ าคิดว่า วันพรุ่งนี้ หรือเดือนหน้า ปีหน้า เดือนโน้น เราจึงจะ ต า ย คิดไว้เสมอว่าวันนี้เราอาจจะ ต า ย
แล้วก็สร้างความดีเข้าไว้ ความดีจะส่งผลให้ท่านมีความสุข ทั้งในปัจจุบันและสัมปรายภพ”
และเมื่อองค์สมเด็จพ ระนราสภพูดเท่านี้ องค์สมเด็จพ ระมหามุนีก็เสด็จกลับ เมื่อพ ระพุทธเจ้าไปแล้ว
เทศน์ที่พ ระพุทธเจ้าสอนก็ตามพ ระพุทธเจ้าไปด้วย คือไม่ตามชาวบ้านไปที่บ้าน ตามพ ระพุทธเจ้ากลับวิหาร คือชาวบ้านไม่สนใจ
ทว่าสาวน้อยกลอยใจหรือเปสการีธิดา เธอสนใจในคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพ ระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นเหตุ ทุ กวันทุ กคืน
เธอนึกถึงวงหน้าขององค์สมเด็จพ ระบรมโลกเชษฐ์ ว่ามี ด วงหน้าสวยงามคล้ายด วงจันทร์
และพ ระสุรเ สียงขององค์สมเด็จพ ระภควันต์ก็แจ่มใส ไพเราะ ลีลาแห่งการแสดงพ ระธรรมเทศนาก็น่าฟังเป็นที่ชื่นใจ
เธอจำไว้ได้เสมอว่าองค์สมเด็จพ ระบรมศาสดา พ ระองค์ทรงสอนว่า
“ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง แต่ความ ต า ย เป็นของเที่ยง ท่านทั้งหลายจงอย่ าประมาทในชีวิต จงคิดแต่สร้างความดีไว้เสมอ”
แล้วเธอก็ทำความดีทุ กอย่ าง ตามที่บิดามารดาและองค์สมเด็จพ ระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะนำ การแนะนำในคราวนั้น
ก็มีศีลห้าเป็นสำคัญ เธอนึกถึงพ ระพุทธเจ้าทุ กวัน จัดเป็นพุทธานุสสติก รรมฐาน แบบที่เราภาวนาว่า พุทโธ
เธอนึกถึงความ ต า ย เป็นอ ารมณ์ จัดเป็น มรณานุสสติก รรมฐาน เธอไม่ประมาทในการประกอบก รรมทำกุศล
สร้างสิ่งที่เป็นมงคลไว้ตลอดชีวิต ที่ว่ามีสิทธ์เข้าถึงธรรม ไม่สงสัยในคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพ ระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เมื่ออ ารมณ์จิตของเธอดีอย่ างนี้ มีอ ารมณ์ผ่องใส วันทั้งวันนึกถึงความต ายแต่ก็ไม่เศร้าหมอง คิดว่าเวลานี้แม่ของเราก็
ต า ยไปแล้ว เหลือแต่พ่อ สักวันหนึ่งพ่อก็ดี เราก็ดีจะต้อง ต า ย แต่ก่อนที่เราจะต าย เราเป็นคนก็ควรจะเป็นคนดี
เวลาเป็นผ ีควรจะเป็นผ ีดี คือผ ีที่มีความสุข ไม่ใช่ผ ีในอบายภูมิ เธอคิดอย่ างนี้จนเป็นเอกัคคตารมณ์
ทุ กวันนึกถึงความ ต า ย ทุ กวันนึกถึงวงพักตร์ขององค์สมเด็จพ ระจอมไตรทุ กวันคิดถึงพ ระสุรเ สียงของ
องค์สมเด็จพ ระผู้มีพ ระภาคเจ้าตรัส ขึ้นใจจับใจจนเป็นเอกัคคตารมณ์ เวลานั้นวันที่พ ระพุทธเจ้าเทศน์ครั้งแรก
เธอมีอายุได้ 16 ปี ต่อมาเมื่อเธออายุย่ างเข้า 19 ปี
องค์สมเด็จพ ระชินสีห์ทรงตรวจอุปนิสัยของสัตว์ในเวลาเช้ามืด เห็นนางต กในข่ายของญาณ ก็ต กใจว่านี่เรื่องอะไร
ก็ทรงทราบด้วยอำนาจของญาณว่า ในสายวันนี้ กุลสตรีคนนี้ก็จะถึงแ ก่ความต า ยด้วยอุ บัติเ หตุ
องค์สมเด็จพ ระบรมโลกเชษฐ์จึงได้พิจารณาว่า ถ้าเราไม่ช่วยเธอ เธอจะมีคติที่แน่นอนไหม องค์สมเด็จพ ระจอมไตรทรงทราบว่า
ถ้าเราไม่ช่วยเธอ เธอมีคติไม่แน่นอน คำว่า “คติ” แปลว่า การไปแน่นอนหรือไม่แน่นอน ก็หมายความว่า ถ้าแน่นอนก็ไม่ไปทุคติ
ไม่ไปเกิดเป็นสั ตว์น ร ก ไปเกิดเป็นเปรต เป็นอสุรกาย เป็นสัตว์เดรัจฉาน ต้องเกิดเป็นคน หรือเป็นเทวดา หรือเป็นพรหม
ไปนิพพานอย่ างนี้ ชื่อว่ามีคติแน่นอน
องค์สมเด็จพ ระชินวรจึงมาคิดว่า ถ้าเราจะช่วยเธอ เธอจะมีคติที่แน่นอนไหม ก็ทรงทราบว่าถ้าทรงช่วยจะมีคติแน่นอน
และพิจารณาต่อไปว่าช่วยเธอยังไงจึงจะมีคติที่แน่นอน องค์สมเด็จพ ระชินวรก็ทรงทราบว่า
ถ้าเราถามปัญหาเธอ 4 ข้อ เธอตอบเราให้สาธุการรับรอง พอจบคาถา 4 ข้อ เธอก็จะได้บรรลุพ ระโสดาบัน
การ ต า ย คราวนั้นของเธอก็จะไปสู่สวรรค์ชั้นดุสิต เป็นที่อยู่อันบรมสุข
ฉะนั้นในตอนเช้า องค์สมเด็จพ ระผู้มีพ ระภาคเจ้าไม่ชวนใคร ไปองค์เดียวไปนั่งอยู่ในที่เดิม หลังจากนั้นแล้วคนมาเฝ้า
(ขอเล่าลัด ๆ) ลูกสาวของนายช่างทำหูกทำงานเสร็จ ตัดสินใจมาเฝ้าพ ระพุทธเจ้าก่อน
องค์สมเด็จพ ระชินวรจึงได้ทรงมองดูหน้าเธอ เมื่อสบตากัน เธอก็ทราบว่าองค์สมเด็จพ ระภควันต์
ต้องการให้เข้าไปใกล้ เธอเข้าไปแล้ว องค์สมเด็จพ ระจอมไตรจึงได้ถามปัญหา 4 ข้อ
พ ระองค์ทรงถามว่า “เธอมาจากไหน ?”
เธอตอบว่า “ไม่ทราบพ ร ะเจ้าข้า”
พ ระองค์ทรงถามว่า “เธอจะไปไหน ?”
เธอตอบว่า “ไม่ทราบพ ระเจ้าข้า”
พ ระองค์ทรงถามว่า “เธอไม่ทราบหรือ ?”
เธอตอบว่า “ทราบพ ระเจ้าข้า”
พ ระองค์ทรงถามว่า “เธอทราบหรือ ?”
เธอก็ตอบว่า “ไม่ทราบพ ระเจ้าข้า”
ปัญหา 4 ข้อนี้ คือ…
ข้อที่ 1 ทรงถามว่า “เธอมาจากไหน ?”
เธอตอบว่า “อาศัยที่องค์สมเด็จพ ระจอมไตรถามว่า เมื่อก่อนจะเกิดมาแต่ไหน เธอไม่ทราบ”
ข้อที่ 2 ทรงถามว่า “เธอจะไปไหน ?”
เธอตอบว่า “ ต า ย แล้วไปไหน หม่อมฉันไม่ทราบ”
ข้อที่ 3 ทรงถามว่า “เธอไม่ทราบหรือ ?”
เธอตอบว่า “ทราบว่ายังไง ๆ ก็ต ายแน่ พ ระเจ้าข้า”
ข้อที่ 4 ทรงถามว่า “เธอทราบหรือ ?”
เธอก็ตอบว่า “ไม่ทราบ ก็เพราะว่าจะ ต า ย เวลาเช้า เวลาสาย เวลาบ่าย เวลาเที่ยง ก็ไม่ทราบพ ระเจ้าข้า และไม่ทราบอาการ ต า ย แต่ยังไง ๆ ก็ ต า ย แน่”
พ ระพุทธเจ้าก็รับรองด้วยสาธุการ จึงถามเพียงเท่านี้
ความมั่นใจของเธอทำให้เธอเป็นพ ระโสดาบัน แต่ความจริงในตอนต้นนั้น
เธอเข้าถึงพ ระโสดาปัตติมรรคอยู่แล้ว คือ
ข้อที่ 1 นึกถึงความ ต า ย เป็นอ ารมณ์ ไม่ประมาทในชีวิต
ในข้อว่า สักกายทิฏฐิ เธอเข้าถึงแล้วในเบื้องต้น
ข้อที่ 2 เธอนึกถึงองค์สมเด็จพ ระทศ พล บรมศาสดา
สัมมาสัมพุทธเจ้าอยู่ทุ กวัน จัดว่าเป็นพุทธานุสสติก รรมฐาน
ข้อที่ 3 นึกถึงพ ระธรรมคำสั่งสอน ที่องค์สมเด็จพ ระชินวรทรงสอนไว้เสมอว่า
ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง แต่ความ ต า ย เป็นของเที่ยง เธอทั้งหลายจงอย่ าประมาทในชีวิต
ข้อที่ 4 ธรรมใดที่องค์สมเด็จพ ระธรรมสามิสร มีศีล 5 เป็นต้น ที่องค์สมเด็จพ ระทศ พลทรงสอนไว้
เธอจำได้ทุ กอย่ าง และปฏิบัติทุ กอย่ าง อย่ างนี้ถ้าจะกล่าวกันไป ก็ชื่อว่าเธอเป็นโสดาปัตติมรรคแล้ว แต่ว่าอ ารมณ์จิตยังไม่มั่นคง
ต่อมา เมื่อองค์สมเด็จพ ระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงเสด็จมาสนับสนุนอีกวาระหนึ่ง เธอมีความมั่นคงในความรู้สึก
จิตมีความมั่นในคุณพ ระรัตนตรัย มั่นในความ ต า ย คิดว่าเมื่อไหร่ก็เชิญ มันต ายแน่
มั่นในศีลที่เธอรัก ษา แล้วก็มีศรัทธาในองค์สมเด็จพ ระสัมมาสัมพุทธเจ้า และในพ ระธรรมคำสั่งสอน
อย่ างนี้แหละบรรดาท่านทั้งหลาย องค์สมเด็จพ ระชินวรกล่าวว่า ท่านผู้นั้นเป็นพ ระโสดาบัน
เป็นอันว่าท่านพุทธบริษัททุ กท่าน ก าลเวลาที่เราจะแนะนำกันวันนี้ ก็รู้สึกว่าจะหมดเวลาเ สียแล้ว
เท่าที่พูดมาแล้วนี้ทั้งหมด เป็นปฏิปทาที่เราจะปฏิบัติให้เข้าถึงความเป็นพ ระโสดาบัน
ท่านทั้งหลายมีความรู้สึกว่าย ากไหม ถ้าย ากก็ค่อย ๆ คิด ค่อย ๆ ทำไป ดูตัวอย่ าง เปสการีธิดา
เป็นตัวอย่ าง ว่าเขามีความรู้สึกอย่ างไร ท่านจึงกล่าวว่าเธอเป็นพ ระโสดาบัน
ย้อนหลังไปนิด เธอนึกถึงความ ต า ย เป็นอ ารมณ์ ไม่ประมาทในชีวิต แล้วกา ลต่อไปเธอนึกถึงวงพักตร์
ของพ ระจอมไตรบรมศาสดา คือ มีความเคารพในพ ระพุทธเจ้า นึกถึงพ ระพุทธเจ้าเป็นธรรมดา เป็นเอกัคคตารมณ์ อ ารมณ์ทรงตัว
แล้วเธอก็ปฏิบัติตามกระแสพ ระสัทธรรมเทศนา ที่องค์สมเด็จพ ระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสั่งสอน มีปฏิบัติศีล
อย่ างเคร่งครัดเป็นต้น อย่ างนี้องค์สมเด็จพ ระทศ พลยอมรับนับถือว่าเธอเป็นพ ระโสดาบัน
เข้าใจว่าท่านทั้งหลายผู้รับฟังคำสอนคงจะเห็นว่า คำสอนขององค์สมเด็จพ ระชินวรในตอนนี้เป็นของไม่หนัก
แล้วก็เป็นของไม่ย ากสำหรับบรรดาท่านพุทธบริษัท สำหรับวันนี้ก็หมดเวลาเ สียแล้ว
ขอบรรดาท่านพุทธบริษัทพย าย ามทรงอ ารมณ์ให้เป็นสมาธิ จะนั่งก็ได้ จะยืนก็ได้ จะเดินก็ได้ จะนอนก็ได้
ให้จิตใจทรงอ ารมณ์ตามคำสั่งและคำสอน ที่กล่าวมาแล้วตั้งแต่ต้นจนอวสาน ชอบใจตรงไหนทำตรงนั้นให้ทรงตัว
และผลที่ท่านทั้งหลายจะพึงได้ นั่นก็คือ ความเป็นพ ระโสดาบัน และต่อจากนี้ไป
ขอบรรดาท่านพุทธบริษัททุ กท่าน พย าย ามทรงอ ารมณ์และตั้งไว้ในความดีตามอัธย าศัย จนกว่าจะได้เวลาที่ท่านจะได้พึงปรารถนา สวัสดี
ขอบคุณที่มา : ธ ร ร ม ะ ส วั ส